Description
Medicinal uses
The leaf extract may inhibit the formation of advanced glycation end-products. The leaf extract contains linolenic acid and aspartic acid, which were found to be the major compounds responsible for the anti-glycation potential of the leaf extract.
Culinary uses
The flowers of S. grandiflora are eaten as a vegetable in South Asia and Southeast Asia, including Laos, Thailand, Java and Lombok in Indonesia, Vietnam, Maldives (locally known as Feeru Muran’ga, ފީރު މުރަނގަ), Sri Lanka, and the Ilocos Region of the Philippines.
In Khmer language, the flowers are called ផ្កាអង្គាដី (angkea dei) and young leaves and flowers are used in the cuisine both cooked in curries, such as Samlor mchou angkea dei and salad sauce bok amproek or toek kroeung.
In the Thai language, the flowers are called ดอกแค (dok khae) and are used in the cuisine both cooked in curries, such as kaeng som and kaeng khae, and raw or blanched with nam phrik.
The young pods are also eaten. In Sri Lanka, agati leaves, known as Katuru murunga in Sinhala language, are sometimes added to sudhu hodhi or white curry, a widely eaten, thin coconut gravy. In India, this plant is known as agati (Tamil), agastya (Kannada), అవిసె (Telugu), and both the leaves and the flowers have culinary uses. It is known as Bok phool (বকফুল) in West Bengal, India and Bangladesh, and is eaten after being fried with gram paste.แคดอกแดงเป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-6 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา ขรุขระแตกเป็นสะเก็ด ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรีขอบขนาน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 3-4 ซม. ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ 2-4 ดอก ดอกสีแดง มีกลิ่นหอม ก้านเกสรเพศผู้สีขาว 60 อัน ผล เป็นฝัก ยาว 8-15 ซม. ฝักแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดกลมแป้น สีน้ำตาล มีหลายเมล็ด เป็นพืชที่มีสรรพคุณทางสมุนไพรไทย โดยเปลือกต้มหรือฝนรับประทาน แก้โรคบิดมีตัว แก้มูกเลือด แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ ใช้ชะล้างบาดแผล ดอกและใบ รับประทานแก้ไข้เปลี่ยนอากาศ เปลี่ยนฤดู ชาวอินเดีย ใช้สูดดมน้ำที่คั้นได้จากดอกหรือใบแคเข้าจมูกรักษาโรคริดสีดวงในจมูก และทำให้มีน้ำมูกออกมา แก้ปวดและหนักศีรษะ ลดความร้อน ลดไข้ ใบสด ทำให้ระบาย นำมาตำละเอียดพอกแก้ช้ำชอก. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-6 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา ขรุขระ แตกเป็นสะเก็ด ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ ใบย่อยรูปรีขอบขนาน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 3-4 ซม. ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบ 2-4 ดอก ดอกสีขาวหรือแดง มีกลิ่นหอม ก้านเกสรเพศผู้สีขาว 60 อัน ผล เป็นฝัก ยาว 8-15 ซม. ฝักแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดกลมแป้น สีน้ำตาล มีหลายเมล็ด ส่วนที่ใช้ : เปลือกต้น ดอก ใบสด ยอดอ่อน สรรพคุณ : เปลือก – ต้มหรือฝนรับประทาน แก้โรคบิดมีตัว – แก้มูกเลือด แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ – ภายนอก ใช้ชะล้างบาดแผล ดอก,ใบ – รับประทานแก้ไข้เปลี่ยนอากาศ เปลี่ยนฤดู (แก้ไข้หัวลม) ชาวอินเดีย ใช้สูดน้ำที่คั้นได้จากดอกหรือใบแคเข้าจมูกรักษาโรค ริดสีดวงในจมูก และทำให้มีน้ำมูกออกมา แก้ปวดและหนักศีรษะ ลดความร้อน ลดไข้ ใบสด – รับประทานใบแคทำให้ระบาย – ใบแค ตำละเอียด พอกแก้ช้ำชอก วิธีและปริมาณที่ใช้ : แก้มูกเลือด บิดมีตัว แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ ใช้เปลือกต้นปิ้งไฟ 1 ส่วน ต้มกับน้ำหรือน้ำปูนใส 10 ส่วน รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนแกง แก้ไข้ ลดความร้อน แก้ไข้หัวลม (หรือไข้อากาศเปลี่ยน) – ใบสด ต้มกับน้ำรับประทานลดไข้ ใช้ยอดอ่อนจำนวนไม่จำกัด ลวกจิ้มกับน้ำพริก รับประทานแก้ปวดศีรษะข้างเดียว – ใช้ดอกที่โตเต็มที่ล้างน้ำ ต้มกับหมูทำบะช่อ 1 ชาม รับประทาน 1 มื้อ รับประทานติดต่อกัน 3-7 วัน จะได้ผล
Reviews
There are no reviews yet.